พลวัต

  • คอลัมน์

    พักฐานก่อนขึ้น

    หลังจากที่รีบาวด์กลับมานานกว่า 1 สัปดาห์จนดัชนีตลาดหุ้นไทย สามารถยืนเหนือ 1,500 จุดได้แค่ 2 วัน ดัชนีตลาดหุ้นไทยก็ได้เวลาพักฐานวานนี้อย่างแรงพอสมควร จนกระทั่งนักลงทุนถามไถ่กันยกใหญ่ว่าเกิดอะไรขึ้น

  • คอลัมน์

    ข่าวดี ข่าวร้าย

    นายพิชัย นริพทะพันธุ์ อดีต รมว.พลังงาน สมัยรัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ถือเป็นหนึ่งในคนจำนวนน้อยที่กล้าออกมาวิพากษ์นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลปัจจุบันต่อเนื่อง แม้จะเผชิญกับการที่ทหารในกองทัพใช้อำนาจ “เชิญตัว” ไปปรับทัศนคติต่อเนื่องในระดับหัวแถว

  • คอลัมน์

    เศษเนื้อข้างเขียง

    เมื่อวานนี้ ก.ล.ต. ออกประกาศลงโทษพนักงานผู้แนะนำการลงทุน 11 รายสังกัด 6 บริษัทหลักทรัพย์ ในข้อหาซ้ำซาก คือ หาประโยชน์กับลูกค้าที่เป็นนักลงทุนรายย่อย (ภาษาอันไพเราะของ ก.ล.ต.คือ แสวงหาประโยชน์จากลูกค้า)

  • คอลัมน์

    เมื่อจีนหายป่วย

    เคยบอกไว้สัปดาห์ก่อนแล้วว่า จากนี้ไป ต้องจับตาจีนให้ดี เพราะมีข่าวดีออกมาเรื่อยๆ แต่ตอนนี้ล่าสุด ต้องย้ำอีกครั้งว่า จีนที่หายป่วย (แม้ยังไม่ 100%) จะเร่งอิทธิพลของจีนต่อโลกในทางบวกมากขึ้นนับจากปลายปีนี้ไปเลยทีเดียว

  • คอลัมน์

    บาทแข็ง และ แครี่ เทรด

    นักวิเคราะห์ตลาดเงินในวอลล์สตรีท เพิ่งจะให้ความเห็นกันไปเมื่อวันจันทร์หมาดๆ พร้อมกับฟันธงว่า ช่วงเวลาของการทำ ดอลลาร์ แครี่ เทรด น่าจะได้เวลาจบสิ้นกันเสียที ก็เกิดปรากฏการณ์ที่ทำให้นักวิเคราะห์ดังกล่าวพากันกลายเป็นตัวตลกอย่างช่วยไม่ได้

  • คอลัมน์

    ข่าวลือ – ข่าวจริง

    โดยทั่วไป ตลาดหุ้นและตลาดเก็งกำไร มักจะมีคำกล่าวเกร่อว่า ”ขึ้นตามข่าวลือ ขายตามข่าวจริง” แต่สถานการณ์ของสัปดาห์นี้ในตลาดหุ้นไทยกลับตรงกันข้ามกันอย่างน่าสนใจ เพราะหุ้นลงตามข่าวลือ แต่ขึ้นตามข่าวจริง

  • คอลัมน์

    จิตวิทยาฝูงชน

    เมื่อวานนี้ เป็นวันพุธโลกาวินาศอีกวันของตลาดหุ้นไทย เพราะแรงขายออกมาชนิดรุนแรงตั้งแต่เปิดตลาดเช้าจนถึงเปิดตลาดบ่ายที่แรงขึ้นจนดัชนีร่วงไปมากกว่า 100 จุด ก่อนที่จะมีการรีบาวด์กลับมาปิดลบไปที่ 36 จุดเศษ

  • คอลัมน์

    หยวนอ่อนรอบที่ 3

    เมื่อวานนี้ ค่าเงินหยวนอ่อนค่าแตะระดับต่ำสุดในรอบ 15 เดือน ที่ระดับ 6.7098 ต่อดอลลาร์ ถือเป็นการทำนิวโลว์ครั้งที่สามนับตั้งแต่เข้าคำนวณในตะกร้าเงินของกองทุนการเงินระหว่างประเทศเมื่อปลายปีที่แล้ว

  • คอลัมน์

    เอเชียกับปอนด์สเตอร์ลิง

    หลังจากการลงประชามติถอนตัวออกจากสหภาพยุโรปของอังกฤษผ่านไป คำถามที่นักการเงินในเอเชียส่วนใหญ่ตอบมักจะซ้ำซากคล้ายกันคือ จะไม่มีผลกระทบอะไรเลย เพราะมีผลน้อยมาก ต่อมาถึงวันนี้ วันที่เงินปอนด์สเตอร์ลิงถดถอยรุนแรง คำตอบเริ่มเปลี่ยนไปว่า น่าสยดสยองเพราะผลสะเทือนในอนาคตนั้นอาจจะเลวร้ายเกินคาด

  • คอลัมน์

    ไอแซค นิวตัน กับ ปอนด์สเตอร์ลิง

    วันศุกร์ที่ผ่านมา เกิดปรากฏการณ์ "พังชั่ววูบ" (flash crash) ของค่าเงินปอนด์สเตอร์ลิงของอังกฤษจนกระทั่งหลุดที่ระดับต่ำสุดในรอบ 31 ปี ใกล้เคียงกับระดับต่ำสุดเป็นประวัติการณ์ในปีค.ศ. 1978 แต่ก็รีบาวด์กลับมาได้ แม้จะไม่ได้ดีขึ้นมากมาย

Back to top button