พลวัต 2018

  • คอลัมน์

    พลวัตปี 2018 : ทีวีดิจิทัล 2561

    รัฐบาลชุดนี้ ใช้เวลานานกว่า 4 เดือนแล้วในการหาทางออกให้บริษัทประกอบการโทรทัศน์ดิจิทัลหลุดพ้นจากหายนะทางการเงินเฉพาะหน้า แต่ยังหาทางออกไม่ได้ เพื่อจะอธิบายต่อสังคมว่า ทำไมต้องเข้าไปโอบอุ้มบริษัทเอกชนอย่างเลือกปฏิบัติ จากการตัดสินใจที่ผิดพลาดจากการรุกเข้าสู่ธุรกิจนี้เมื่อ 4 ปีเศษที่ผ่านมา

  • คอลัมน์

    พลวัต 2018 : การบินไทยไร้หัว

    ตำแหน่งของกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ ของสายการบินแห่งชาติ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) หรือ THAI ว่างลงมาประมาณ 1 ปี ยังหาคนที่เหมาะสมไม่ได้ มีแต่รักษาการแทน แต่บริษัทก็ยังสามารถดำเนินการไปได้ตามปกติ เสมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น

  • คอลัมน์

    พลวัต 2018 : นรกรออยู่ ในรัฐล้มเหลว

    ถ้าหากตัดประเด็นเรื่องถูก-ผิด และแบ่งฝ่ายเชียร์ออกไปเพื่อตัดอคติแล้ว กรณี “ป้าทุบรถ” ที่เขตประเวศ กทม. เป็นมากกว่าภาพสะท้อนความล้มเหลวของระบบรัฐไทยที่มีคนจำนวนไม่น้อยเริ่มตั้งคำถามว่า อนาคตของประเทศนี้ หากไม่มีมาตรา 44 ให้ใช้ คงแทบจะไม่มีวันเดินหน้าได้เลย เพราะกระบวนการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่รัฐถูกขับด้วยเงื่อนไขที่มีเนื้อหาหลัก “ไม่ทำอะไร ไม่ผิด”

  • คอลัมน์

    พลวัต 2018 : เงินดิจิทัลสังเคราะห์

    ท่าทีล่าสุดที่เปลี่ยนขั้วของผู้บริหารสูงสุดของ FSS (Financial Supervisory Service) แห่งเกาหลีใต้ นาย โช เฮือง ซิก จากที่เคยตั้งตนเป็นศัตรูกับบิตคอยน์ในฐานะสิ่งที่ผิดกฎหมาย มาเป็นท่าทีที่ผ่อนปรนมากขึ้น มีความหมายลึกซึ้งอย่างมากว่า ไดโนเสาร์ทางการเงินที่ยอมรับการปรับตัว อาจสามารถจะอยู่รอดได้ในยุคสมัยของความแปรปรวนที่เรียกว่า disruptive innovation

  • คอลัมน์

    พลวัต 2018 : กลต.จับปู (ดิจิทัล)

    แล้วในที่สุด หลังจากการหารือกันหลายรอบ ดูเหมือนว่า ก.ล.ต.จะพบทางออกในการกำกับดูแลการซื้อขายเงินดิจิทัล และการระดมทุนผ่านไอซีโอ นั่นหมายความว่าจากนี้ไป ก.ล.ต.จะสามารถเป็น “ยักษ์มีกระบอง” ในด้านนี้ ไม่ใช่เป็นแค่ “เสือกระดาษ” อีกต่อไป

  • คอลัมน์

    พลวัต 2018 : เกมเจ๊กกระซิบ

    กรณีข่าวเกี่ยวกับ “แบงก์กิ้ง เอเย่นต์” ที่ถูกนำไปขยายความเกินจริง ยิ่งตอกย้ำให้เห็นชัดว่า การเล่นเกม “เจ๊กกระซิบ” (หรือ Chinese Whispers) นั้นง่ายดายยิ่งนักในสังคมไทย

  • คอลัมน์

    พลวัต 2018 : ม้าแก่ชำนาญทาง

    แล้วก็เป็นไปตามคาด เมื่อรัฐบาลเสนอชื่อให้นาย ฮารุฮิโกะ คุโรดะ ผู้ว่าการธนาคารกลางญี่ปุ่น หรือ BOJ คนปัจจุบันที่ดำรงตำแหน่งมาแล้ว 1 สมัย ตั้งแต่ปี 2556 นั่งเก้าอี้เดิมอีกสมัย ก่อนที่วาระการดำรงตำแหน่งของนายคุโรดะจะหมดลงในเดือนเมษายนนี้

  • คอลัมน์

    พลวัต 2018 : 4.0 กับอนาคตไทย

    สุดสัปดาห์ที่ผ่านมา เพิ่งมีเวลานั่งอ่านหนังสือบางๆ เล่มหนึ่งที่ (เขาว่า) ทรงอิทธิพลอย่างยิ่งในรอบหลายปีนี้ ไม่แพ้งานของโธมัส พิเก็ตตี้ เรื่อง Capital in the 21st Century หนังสือเล่มดังกล่าวชื่อว่า The Fourth Industrial Revolution เขียนครั้งแรกในปี 2559…

  • คอลัมน์

    พลวัต 2018 : ฟันด์โฟลว์ไหลออกแรง

    งานนี้ดัชนีตลาดหุ้นไทยแกว่งตัวบวกลบแบบสลับฟันปลาตลอดทั้งวันก่อนปิดบวกเล็กน้อย เลียนแบบดาวโจนส์คืนก่อน แต่เมื่อปิดตลาด พบว่าตัวเลขขายสุทธิของต่างชาติออกมาอีกวันค่อนข้างเยอะ และต่อเนื่องจากวันก่อนหน้าที่ขายสุทธิมาต่อเนื่องมากบ้างน้อยบ้าง

  • คอลัมน์

    พลวัตปี 2018 : ปลายยอดภูเขาน้ำแข็ง

    ในที่สุด สถาบันรัฐไทยก็เริ่มออกมาตอบโต้ เมื่อสถานการณ์ที่เริ่มมีกระแสการระดมทุนด้วยเงินเสมือนอิเล็กทรอนิกส์ (หรือเงินเสมือนดิจิทัล สุดแท้แต่จะเรียก) ปรากฏตัวขึ้นมาเปิดเผยมากขึ้น โดยอาศัยจังหวะที่ไม่มีกติกาหรือกฎหมายบังคับใช้

Back to top button