พลวัต
-
คอลัมน์
บอนด์ยีลด์-ดอกเบี้ยติดลบ
เมื่อวานซืน ธนาคารกลางญี่ปุ่นเดินตามรอยธนาคารกลางยุโรปหรือ ECB ด้วยการคงมาตรการดอกเบี้ยติดลบ และคง QE ต่อไป ผลลัพธ์ที่ตามมาคือ บอนด์ยีลด์ของพันธบัตรรัฐบาลญี่ปุ่นติดลบต่อไปอีก เนื่องจากคนแห่เข้าซื้อกันล้นหลาม
-
คอลัมน์
เยนแข็ง (หนูลองยา)
ตอนที่กองทุนเฮดจ์ฟันด์ระดับโลก เฮละโลกันเข้าซื้อเงินเยนญี่ปุ่น ในช่วงเวลาที่ราคาน้ำมันและดัชนีตลาดหุ้นทั่วโลกสัปดาห์แรกของปีดิ่งเหว จนกระทั่งกลางเดือนมกราคมค่าเงินเยนเทียบดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นไปมากถึง 2.5% อยู่ที่ระดับ 117 เยนต่อดอลลาร์ และแข็งขึ้นเทียบยูโร 2.1% ไปที่ 128 เยนต่อยูโร แข็งค่าสุดในรอบหลายปี ความพยายามของธนาคารกลางญี่ป่นจะสกัดการแข็งค่าเงินเงินเยนได้ออกมาด้วยการใช้ “ยาแรง” ซึ่งได้ผลตรงกันข้าม
-
คอลัมน์
สถานการณ์ที่อึมครึม
นักวิเคราะห์หุ้นในสำนักโบรกเกอร์ต่างๆ ของไทย มีข้อสรุปตรงกันเหมือนนัดแนะว่า เงินทุนส่วนเกินจากยุโรป ที่มาจากมาตรการของธนาคารกลางยุโรปหรือ ECB จะดันราคาหุ้นไทยให้วิ่งต่อขึ้นไปได้อีก การย่อยตัวไม่สามารถฝ่าแนวต้านขึ้นไปเหนือ 1,400 จุดเมื่อวานนี้ เป็นแค่การพักฐานระยะสั้น เพื่อลดความร้อนแรงธรรมดา โดยดูได้จากการซื้อสุทธิของต่างชาติเมื่อวานนี้เป็นตัวอย่างมากกว่า 2 พันล้านบาท และการซื้อล่วงหน้าในตลาดอนุพันธ์ เป็นทิศทางที่เลี่ยงไม่พ้นในระยะข้างหน้า
-
คอลัมน์
ว่าด้วยฟองสบู่
ในยามที่โอกาสวิ่งแรงโดยที่มีพักบางวันเล็กน้อยไม่มีนัยสำคัญของดัชนีตลาดหุ้นไทย ทำท่าทะลุ 1,400 จุดในสัปดาห์นี้อย่างร้อนแรงเข้าข่ายร้อนที่สุดในเอเชีย มีคำถามที่แทรกขึ้นมาว่า ภาวะนี้เป็นฟองสบู่เล็กๆ ได้หรือยัง
-
คอลัมน์
เดิมพันของ ECB
เช้านี้ก็คงรู้กันแล้วว่า กรรมการธนาคารกลางของยูโรโซน (ECB) ที่นำโดย นายมาริโอ ดรากี จะมีมติเกี่ยวกกับมาตรการทางการเงินเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจของยูโรโซนที่ภาวะเงินฝืดครอบงำยาวนาน เพราะ ดัชนี CPI ยังอยู่ต่ำกว่าเป้าหมายระยะกลางที่กำหนดไว้ที่ 2% ซึ่งส่งสัญญาณว่า ความพยายามที่ผ่านมา ยังอยู่ห่างไกลมาก
-
คอลัมน์
งาช้างในปากสุนัข
โจทย์ที่ตั้งขึ้นว่า ตลาดหุ้นจะวิ่งสวนทางเศรษฐกิจไปได้ไกลแค่ไหน เป็นคำถามที่คล้ายกันกับถามว่า งาช้างจะงอกจากปากสุนัขได้หรือไม่
-
คอลัมน์
ตัวเลข (ไม่เคย) โกหก
หุ้นจีนวูบลงในพริบตาเมื่อเปิดตลาดวานนี้ หลังจากสำนักงานศุลกากรจีน ประกาศตัวเลขทางการเดือนธันวาคมของการค้าระหว่างประเทศออกมาเป็นข่าวร้ายก่อนเปิดตลาด
-
คอลัมน์
น้ำมัน และ ส้นเท้าอะคีลีส
ราคาน้ำมันที่วิ่งขึ้นสู่จุดสูงสุดในรอบ 2 เดือน ในช่วงเวลาที่ใกล้กับวันที่ 20 มีนาคม ซึ่งเริ่มมีการเปิดเจรจาเพื่อตรึงกำลังการผลิตน้ำมันทั่วโลก (ยกเว้นสหรัฐฯ ที่ถูกเบียดให้ออกนอกวงเจรจา) อย่างเป็นทางการ ไม่ใช่เรื่องน่าแปลกใจ เพราะกองทุนเก็งกำไรพากันออกแรงดันขึ้นไป ทั้งที่มีคำถามตามมาว่า ดันขึ้นไปขายให้ใครกันแน่
-
คอลัมน์
อคติเชิงบวก-สุนิยมขี้สงสัย
ราคาน้ำมันดิบลงไม่เป็นต่อไป จากแรงเก็งกำไรกองทุนขนาดใหญ่ที่ดันมาปิดสถานะในตลาดล่วงหน้า จนเกิดคำถามว่าจะไปถึงไหน ทำให้ดัชนีตลาดหุ้นทั่วโลกเกิดอาการ “ขาลอย" ไปตามๆ กัน เพราะวิ่งขึ้น 3 สัปดาห์โดยพักเล็กน้อยมากบางวัน จนเข้าเขตซื้อมากเกินเพราะซื้อจนบางกลุ่มแทบหมดหน้าตัก
-
คอลัมน์
ฟองสบู่ตลาดหุ้น
นักวิเคราะห์หุ้นไทยพยายามบอกว่าดัชนีหุ้นจะยังเดินหน้าไปถึงแนวต้านต่อไปที่เนหือ 1380 จุด จากกระแสฟันด์โฟลว์ไหลเข้า แต่ไม่มีใครพยายามบอกเลยว่า ตลาดเข้าเขตซื้อมากเกินไปนานหลายวันแล้ว มีความเสี่ยงเสมอที่จะปรับตัวลงแรงได้