ศุภวัชร์ มาลานนท์

  • คอลัมน์

    Cap & Corp Forum : ความยินยอมเพื่อวัตถุประสงค์ด้านการตลาด

    You do not have access to this content. You need to create an account.

  • คอลัมน์

    Cap & Corp Forum : การเฝ้าติดตามพฤติกรรมของพนักงาน

    ในปัจจุบัน แม้ว่านายจ้างหรือผู้ว่าจ้างมีเครื่องมือหลายอย่างในการตรวจสอบและติดตามการทำงานของลูกจ้างหรือผู้รับจ้างว่าเป็นไปตามเงื่อนไขของการจ้างหรือไม่ แต่ในยุคที่กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองความเป็นส่วนตัวและการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันมากขึ้น “การเฝ้าติดตามพฤติกรรมของพนักงาน” โดยการใช้ระบบกล้องวงจรปิดหรือเทคโนโลยีอื่น ๆ ก็อาจจำเป็นต้องมีการทบทวนถึงความชอบด้วยกฎหมายอีกครั้ง ซึ่งในยุโรปมีคดีที่เกี่ยวเนื่องกับการเฝ้าติดตามพฤติกรรมของพนักงานหลาย ๆ คดีที่อาจนำมาเป็นกรณีศึกษาสำหรับการบังคับใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ได้ โดยสองกรณีศึกษาที่ผู้เขียนจะนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในวันนี้ เป็นคดีที่ตัดสินโดยศาลสิทธิมนุษยชนยุโรป (European Court of Human Rights,…

  • คอลัมน์

    Cap & Corp Forum : การประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลบนฐานเพื่อประโยชน์โดยชอบด้วยกฎหมาย

    พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลพ.ศ. 2562 ได้กำหนดฐานความชอบด้วยกฎหมาย (lawful basis) ในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล (“ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล”) ของบุคคลอื่นไว้ 7 ฐานด้วยกัน และตามกฎหมายการที่บุคคลหรือองค์กรใดองค์กรหนึ่งจะดำเนินการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของผู้อื่นได้นั้น ต้องมีฐานความชอบด้วยกฎหมายในการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลฐานใดฐานหนึ่งตามที่พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฯ กำหนด

  • คอลัมน์

    Cap & Corp Forum : การเฝ้าติดตามพฤติกรรมโดยใช้ข้อมูลภาพจำลองใบหน้า

    ข้อมูลจาก AI Global Surveillance (AIGS) Index โดยสถาบัน Carnegie Endowmentfor International Peace (2562) พบว่า เทคโนโลยีการเฝ้าติดตามพฤติกรรมโดยระบบปัญญาประดิษฐ์กำลังแพร่กระจายในอัตราที่รวดเร็วไปยังประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก โดยมีข้อมูลว่ามี 75 ประเทศจาก 176…

  • คอลัมน์

    Cap & Corp Forum : ผลในทางกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของข้อมูลแฝงและข้อมูลนิรนาม

    หลายคนอาจมีคำถามว่าการจัดเก็บ (storage) ข้อมูลส่วนบุคคลในรูปแบบของข้อมูลแฝง (pseudonymousdata) และในรูปแบบข้อมูลนิรนาม (anonymous data) ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการใดกระบวนการหนึ่งข้างต้นจะยังถือว่าเป็นข้อมูลส่วนบุคคลตามความหมายของพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 อยู่หรือไม่ การตีความหมายของการจัดเก็บข้อมูลที่ผ่านการทำเป็นข้อมูลแฝงหรือข้อมูลนิรนามว่ายังจัดเป็นข้อมูลส่วนบุคคลหรือไม่นั้นมีผลอย่างมากต่อผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล เนื่องจากหน้าที่หรือวิธีการปฏิบัติต่อการเก็บรวมรวบ ใช้ และเปิดเผย (“การประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล”) ข้อมูลที่เป็นข้อมูลส่วนบุคคลกับข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลส่วนบุคคลนั้นแตกต่างกันอย่างมาก ดังนั้นผู้ประกอบการต่าง ๆ ที่อยู่ในฐานะผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล…

  • คอลัมน์

    Cap & Corp Forum : การประมวลผลข้อมูลตำแหน่งที่ตั้ง ‘Geolocation’

    You do not have access to this content. You need to create an account.

  • คอลัมน์

    Cap&Corp Forum : การเฝ้าติดตามพฤติกรรมโดยรัฐ

    เมื่อหน่วยข่าวกรองของอังกฤษไม่มีอำนาจในการใช้มาตรการการเฝ้าระวัง

  • คอลัมน์

    Cap&Corp Forum : การโฆษณาออนไลน์กับกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล

    ปัจจุบันผู้อ่านหลายท่านคงจะได้เห็นหน้าต่าง pop–up ของหน้าเว็บไซต์ขึ้นมาขณะกำลังเข้าใช้งานเว็บไซต์เพื่อให้กดยอมรับหรือไม่ยอมรับคุกกี้ จริง ๆ แล้วตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลการกดยอมรับหรือไม่ยอมรับคุกกี้ก็คือการให้ความยินยอมประเภทหนึ่ง (consent) ในขณะที่หลายคนอาจไม่เคยสังเกตว่าการให้ความยินยอมในการจัดเก็บคุกกี้ของผู้ให้บริการส่วนมากอาจจะยังไม่มีการให้ข้อมูลที่ชัดเจน เพียงพอ และจัดให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ใช้สามารถใช้สิทธิที่มีต่อข้อมูลส่วนบุคคลของตนได้ตามกฎหมาย

  • คอลัมน์

    Cap & Corp Forum : การประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของผู้เยาว์

    การเก็บรวบรวม ใช้ และเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล (“การประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล”) ของผู้เยาว์ เป็นอีกประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจ และมีความยุ่งยากหลายประการ อย่างไรก็ตามทั้ง GDPR ของสหภาพยุโรป และพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ของไทย ได้กล่าวถึงการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของผู้เยาว์ไว้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น แต่ในความเป็นจริงการดำเนินการใด ๆ ต่อผู้เยาว์นั้นเป็นที่ยอมรับกันว่าผู้เยาว์ต้องได้รับการคุ้มครองเป็นพิเศษ หรือมากกว่าบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้ว ซึ่งเกณฑ์ความเป็นผู้เยาว์ในแต่ละประเทศก็จะมีความแตกต่างกันตามที่กฎหมายกำหนด

  • คอลัมน์

    Cap & Corp Forum : ‘แอป’ สำหรับระบบส่งข้อความและการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล ‘ของบุคคลอื่น’

    แอปพลิเคชันหรือ “แอป” สำหรับระบบส่งข้อความทันที (instant communications/Instant messaging) เข้ามามีบทบาทอย่างมากในการสื่อสารระหว่างบุคคล อาทิ LINE และ WhatsApp เป็นต้น และสำหรับประเทศไทยคงปฏิเสธไม่ได้ว่าแอปไลน์เป็นแอปเพื่อการสื่อสารที่ได้รับความนิยมสูงสุดมาเป็นระยะเวลาหลายปีก่อนที่ประเทศไทยจะมีกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลขึ้นใช้บังคับ วันนี้ผู้เขียนจึงอยากชวนท่านผู้อ่านมาเรียนรู้ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของแอปประเภทนี้เพื่อเป็นกรณีศึกษาและทำความเข้าใจต่อการบังคับใช้พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

Back to top button