SCB
-
คอลัมน์
ลูบคมตลาดทุน : หุ้นแบงก์ดีดกลับ
แบงก์กรุงเทพ BBL ราคาหุ้นปิดบวก 5 วันทำการติดต่อกันแล้ว
-
ข่าวหน้าหนึ่ง
ทีเอ็มบี-ทีเอสอาร์ฉลุย รายย่อยแห่ใช้สิทธิ 80%
นักลงทุนรายย่อยใช้สิทธิ TSR ของแบงก์ทีเอ็มบีกว่า 80% ด้านกองทุนวายุภักษ์พร้อมใช้สิทธิเกินโควตา หรือในส่วนที่รายย่อยไม่มาใช้ มีวงเงินพร้อม 6.5 พันล้านบาท ด้านทีเอ็มบีนัดประชุมผู้ถือหุ้นวันที่ 28 พ.ย.นี้ ก่อนเปิดเพิ่มทุนรอบสอง ให้ TCAP และโนวาสโกเทีย ราคาหุ้นละ 2.18 บาทต่อหุ้น ต้นเดือน…
-
คอลัมน์
พลวัตปี 2019 : มายาของกำไรพิเศษ
มีกรณีศึกษาน่าสนใจจากงบไตรมาสสามที่ผ่านมา จาก 3 บริษัทจดทะเบียน
-
ข่าวการเงิน-การคลัง
โบรกฯ ยังแนะซื้อหุ้น SCB มั่นใจแก้ปัญหาเพซฯ ได้
นักวิเคราะห์ต่างยังคงแนะนำ “ซื้อ” หุ้นแบงก์ไทยพาณิชย์ หรือ SCB เผยกรณีหนี้ PACE ทางธนาคารวางแนวทางแก้ไขไว้แล้ว โดยหนึ่งในนั้นคือการแปลงหนี้เป็นทุน มั่นใจสิ้นปีนี้น่าจะมีการจ่ายปันผลพิเศษจากการขาย SCBLIFE
-
คอลัมน์
สังคมข่าวหุ้น : เกียรติก้อง ว่องไวยากร
หุ้นไทยหลุด 1,600 จุด
-
ข่าวการเงิน-การคลัง
ส.แบงก์ต่อยอดอี-เพย์เมนต์ ปี 63 ลุยบริการในต่างแดน
สมาคมธนาคารไทย ยันปีหน้าลุยต่อแผน 3 ปี "National e-payment" พร้อมปักหมุดผลักดันธุรกรรมการเงินระหว่างประเทศในภูมิภาคอาเซียนมากขึ้น ด้าน SCB เดินหน้าให้บริการทางการเงินระหว่างประเทศ ทั้งการโอนเงินและการใช้จ่ายผ่านคิวอาร์โค้ด เพื่อเพิ่มช่องทางสร้างรายได้ให้แบงก์
-
ข่าวหน้าหนึ่ง
SCB จ่อแปลงหนี้เป็นทุน ดัน ‘เพซ’ เข้าแผนฟื้นฟูฯ
ธนาคารไทยพาณิชย์ หรือ SCB จ่อแปลงหนี้ บมจ.เพซ ดีเวลลอปเมนท์ คอร์ปอเรชั่น (PACE) เป็นทุนกว่าหมื่นล้านบาท สิ้นเดือน พ.ย.นี้ได้ข้อสรุป ต้องเข้าแผนฟื้นฟูกิจการหรือไม่ ส่วนแผนหาพันธมิตรไม่คืบหน้า ด้านนักวิเคราะห์มอง “วิน-วิน” ทั้งคู่หากแปลงหนี้ ส่วนเพซฯเดินหน้าโครงการต่อได้ และไทยพาณิชย์แก้ปัญหาหนี้เสียพุ่ง
-
คอลัมน์
สังคมข่าวหุ้น : เกียรติก้อง ว่องไวยากร
แนวรับ 1,600 จุดแกร่ง
-
ข่าวการเงิน-การคลัง
SCB-KTB ลุยปั๊มรายได้ค่าฟี – “อาทิตย์” เสนอแผนงานปี 63 เข้าบอร์ดธ.ค.นี้
ไทยพาณิชย์-กรุงไทย เดินหน้าดันรายได้ค่าธรรมเนียม ด้านบิ๊กบอสไทยพาณิชย์เตรียมเสนอแผนธุรกิจปี 63 เข้าบอร์ดต้นเดือนหน้า ด้าน “ผยง” มั่นใจแนวโน้มรายได้ค่าธรรมเนียมปีหน้าทิศทางเชิงบวก
-
รายงานพิเศษ
รายงานพิเศษ : ส่องธนาคารพาณิชย์ลดดอกเบี้ย ‘เงินกู้-เงินฝาก’
จากการที่คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติ 5 ต่อ 2 เสียงให้ลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายลง 0.25% ต่อปี จาก 1.50% เหลือ 1.25% ต่อปี โดยมีผลทันที !!!